Childline Thailand Foundation

มูลนิธิสายเด็ก 1387

WE CAN HELP

Childline provides its services for any child under the age of 18. The foundation works with various government and NGO stakeholders to safeguard the rights of every child as outlined by the United Nations’ Convention on the Rights of a Child (CRC).

Over one hundred countries worldwide have their own child helplines and many others are in the process of starting one. Helplines for children across the world have demonstrated their effectiveness by providing direct assistance to children in need and making comfort, help and emotional support immediately available.

NO JUDGEMENT JUST SUPPORT

Children are encouraged to talk about their problems without judgment or fear of making things worse. Outreach services can link children to immediate rescue, safety and provide direct support to the child.

“SaiDek 1387”, like most Childlines around the world, is not associated with any government agency. This makes it possible for the organization to urge the authorities to take action and to fully function as a spokesperson and representative of the child population of Thailand.

Helping children at risk or in crisis

Since January 2011 The Hub has offered much needed support to children and teenagers in the centre of Bangkok. The youth club is a beautiful and inspiring, open-planned building in the Pomprab district. Ideally located, it is just 5 minutes walk from Hualampong Railway Station.

Our staff are ready to help

The Childline Thailand call center, located in Bangkok, handles cases from all over the country. Staff in the call center are ready to take phone calls and online messages 24 hours a day, 365 day a year.

The call center is the direct link between children and support services and is, therefore, fundamental to the success of our work.

We Campaign

Childline Thailand Foundation has been fundamental in the development of child protection issues and will continue advocating for child rights issues through all levels of Thai society.

We support the UN Child Rights Convention that stipulates all of the intrinsic freedoms that should be granted to children, independent of their abilities, physical appearance, background or spiritual beliefs. The Thai Government signed the CRC in 1992. It took a number of years following the ratification for necessary action to be taken in Thailand but a very important piece of legislation materialized based on the CRC – The Child Protection Act of 2003. Since then it has formed the foundation for building a whole new system and standard for child protection in Thailand.

Comments Box SVG iconsUsed for the like, share, comment, and reaction icons

Facebook Posts

แชร์รูปลูกออนไลน์ ระวัง! ภัยร้ายแฝงอยู่ 👁️‍🗨️👀📸

แชร์รูปลูกน่ารัก ‍‍‍ อวดความอบอุ่นในครอบครัว แต่รู้หรือไม่ว่า ภัยร้ายอาจแฝงอยู่เพราะ “โลกออนไลน์มีมุมมืด”
.
ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันของคนในโลกออนไลน์ ว่าการที่พ่อแม่แชร์รูปภาพของลูก ๆ นั้น สามารถทำได้จริงหรือ ? แม้ว่ารูปเหล่านั้นจะขอความยินยอมจากลูก ๆ แล้วก็ตาม
.
ถึงแม้จะเป็นการแบ่งปันความน่ารักและความอบอุ่นในครอบครัว แต่รู้หรือไม่ว่าการแชร์รูปลูกโดยไม่ระมัดระวัง อาจส่งผลร้ายแรง เกิดเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัยของเด็กได้ ลองจินตนาการดูว่า... รูปลูกน้อยของคุณถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด ถูกนำไปประกอบในเนื้อหาที่ลามกอนาจาร หรือตกเป็นเป้าหมายของเหล่าผู้ล่วงละเมิดทางเพศ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายที่ไม่อาจละเลย
.
ทุกวันนี้เทคโนโลยีมีความทันสมัยมากกว่าเดิม ระบบ AI ที่เข้าถึงได้ง่าย และสามารถใช้ง่านได้ง่าย การตัดต่อ หรือดัดแปลงรูปภาพของลูก ๆ ก็สามารถทำได้อย่างง่ายดาย รูปภาพลูก ๆ ที่คุณแชร์ อาจถูกผู้ไม่หวังดีนำไปตัดต่อ ดัดแปลง หรือใช้ประกอบเนื้อหาลามกอนาจาร สร้างภาพลามกอนาจารเด็กเสมือนจริง (virtual child pornography) เพื่อตอบสนองทางเพศของกลุ่ม คนที่มีอาการใคร่เด็ก (pedophile) หรือที่เราคุ้นกับคำสั้น ๆ ว่าเปโด คนที่มีอาการนี้พอเห็นภาพน่ารัก ๆ ของเด็ก ๆ ในโลกออนไลน์อาจไปกระตุ้นให้มีอารมณ์ทางเพศได้ หรือร้ายแรงมากกว่านั้น คือการเข้าถึงตัวเด็กโดยตรงในโลกออนไลน์ เพื่อเข้ามาพูดคุย สร้างบทสนทนาในเชิงชู้สาว หลอกล่อให้เด็ก ๆ ส่งภาพเปลือย หรือกึ่งเปลือยของเด็ก แล้วนำมาเผยแพร่ เกิดการซื้อขายภาพ วิดีโอ หรือลงกลุ่มในโลกออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนรูปภาพเหล่านี้ โดยมีค่าแลกเข้าเพื่อให้ได้เข้ากลุ่ม
.
แล้วเราจะปกป้องลูกของพวกเราได้อย่างไร ? 🤔

คิดก่อนแชร์💭: พิจารณาอย่างรอบคอบก่อนโพสต์รูปลูก เลือกเฉพาะรูปที่ปลอดภัย ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว🔐🙅: ตั้งค่าบัญชีโซเชียลมีเดียของคุณให้เป็นส่วนตัว จำกัดผู้ที่สามารถดูรูปลูกของคุณได้

คุยกับลูก🗨️🧑‍🦱: เมื่อลูกโตพอ ถามความยินยอมต่อลูก สอนให้ลูกรู้จักการปกป้องข้อมูลส่วนตัวของตัวเอง รู้เท่าทันภัยคุกคามทางออนไลน์

แจ้งเบาะแส 🚨👮: แจ้งเจ้าหน้าที่เมื่อพบเห็นรูปภาพลามกอนาจารเด็กหรือเนื้อหาที่ผิดกฎหมายอื่น ๆ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการ และช่วยกันเป็นหูเป็นตา
.
อย่าลืมว่า... โลกออนไลน์มีทั้งด้านดีและด้านมืด การแชร์รูปลูกด้วยความรักและความเอ็นดู ควรควบคู่ไปกับความระมัดระวังและความรับผิดชอบ เพื่อปกป้องลูกน้อยของคุณให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามทางเพศ
.
🙋‍♀️คุณพ่อคุณแม่คิดเห็นกับประเด็นนี้อย่างไรบ้าง หรือน้อง ๆ เคยเจอเหตุนี้แต่ไม่กล้าเข้าไปคุยกับคุณพ่อคุณแม่ มาร่วมแชร์มุมมอง หรือมาปรึกษากันได้นะคะ พี่ๆ สายเด็กรออ่านอยู่
.
#saidek1387 #sharenting #virtualchildpornography #pedophile #สิทธิของหนู #socialmedia
... ดูเพิ่มเติมSee Less

แชร์รูปลูกออนไลน์ ระวัง! ภัยร้ายแฝงอยู่ 👁️‍🗨️👀📸

แชร์รูปลูกน่ารัก ‍‍‍ อวดความอบอุ่นในครอบครัว  แต่รู้หรือไม่ว่า ภัยร้ายอาจแฝงอยู่เพราะ “โลกออนไลน์มีมุมมืด”
.
ยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันของคนในโลกออนไลน์ ว่าการที่พ่อแม่แชร์รูปภาพของลูก ๆ นั้น สามารถทำได้จริงหรือ ? แม้ว่ารูปเหล่านั้นจะขอความยินยอมจากลูก ๆ แล้วก็ตาม 
.
ถึงแม้จะเป็นการแบ่งปันความน่ารักและความอบอุ่นในครอบครัว แต่รู้หรือไม่ว่าการแชร์รูปลูกโดยไม่ระมัดระวัง อาจส่งผลร้ายแรง เกิดเป็นภัยคุกคามต่อความปลอดภัยของเด็กได้ ลองจินตนาการดูว่า... รูปลูกน้อยของคุณถูกนำไปใช้ในทางที่ผิด ถูกนำไปประกอบในเนื้อหาที่ลามกอนาจาร หรือตกเป็นเป้าหมายของเหล่าผู้ล่วงละเมิดทางเพศ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายที่ไม่อาจละเลย
.
ทุกวันนี้เทคโนโลยีมีความทันสมัยมากกว่าเดิม ระบบ AI ที่เข้าถึงได้ง่าย และสามารถใช้ง่านได้ง่าย การตัดต่อ หรือดัดแปลงรูปภาพของลูก ๆ ก็สามารถทำได้อย่างง่ายดาย รูปภาพลูก ๆ ที่คุณแชร์ อาจถูกผู้ไม่หวังดีนำไปตัดต่อ ดัดแปลง หรือใช้ประกอบเนื้อหาลามกอนาจาร สร้างภาพลามกอนาจารเด็กเสมือนจริง (virtual child pornography) เพื่อตอบสนองทางเพศของกลุ่ม คนที่มีอาการใคร่เด็ก (pedophile) หรือที่เราคุ้นกับคำสั้น ๆ ว่าเปโด คนที่มีอาการนี้พอเห็นภาพน่ารัก ๆ ของเด็ก ๆ ในโลกออนไลน์อาจไปกระตุ้นให้มีอารมณ์ทางเพศได้ หรือร้ายแรงมากกว่านั้น คือการเข้าถึงตัวเด็กโดยตรงในโลกออนไลน์ เพื่อเข้ามาพูดคุย สร้างบทสนทนาในเชิงชู้สาว หลอกล่อให้เด็ก ๆ ส่งภาพเปลือย หรือกึ่งเปลือยของเด็ก แล้วนำมาเผยแพร่ เกิดการซื้อขายภาพ วิดีโอ หรือลงกลุ่มในโลกออนไลน์เพื่อแลกเปลี่ยนรูปภาพเหล่านี้ โดยมีค่าแลกเข้าเพื่อให้ได้เข้ากลุ่ม 
.
แล้วเราจะปกป้องลูกของพวกเราได้อย่างไร ? 🤔

คิดก่อนแชร์💭: พิจารณาอย่างรอบคอบก่อนโพสต์รูปลูก เลือกเฉพาะรูปที่ปลอดภัย ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว🔐🙅: ตั้งค่าบัญชีโซเชียลมีเดียของคุณให้เป็นส่วนตัว จำกัดผู้ที่สามารถดูรูปลูกของคุณได้

คุยกับลูก🗨️🧑‍🦱: เมื่อลูกโตพอ ถามความยินยอมต่อลูก  สอนให้ลูกรู้จักการปกป้องข้อมูลส่วนตัวของตัวเอง รู้เท่าทันภัยคุกคามทางออนไลน์ 

แจ้งเบาะแส 🚨👮: แจ้งเจ้าหน้าที่เมื่อพบเห็นรูปภาพลามกอนาจารเด็กหรือเนื้อหาที่ผิดกฎหมายอื่น ๆ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการ และช่วยกันเป็นหูเป็นตา
.
อย่าลืมว่า... โลกออนไลน์มีทั้งด้านดีและด้านมืด การแชร์รูปลูกด้วยความรักและความเอ็นดู ควรควบคู่ไปกับความระมัดระวังและความรับผิดชอบ เพื่อปกป้องลูกน้อยของคุณให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามทางเพศ
.
🙋‍♀️คุณพ่อคุณแม่คิดเห็นกับประเด็นนี้อย่างไรบ้าง หรือน้อง ๆ เคยเจอเหตุนี้แต่ไม่กล้าเข้าไปคุยกับคุณพ่อคุณแม่ มาร่วมแชร์มุมมอง หรือมาปรึกษากันได้นะคะ พี่ๆ สายเด็กรออ่านอยู่
.
#saidek1387 #sharenting #virtualchildpornography #pedophile #สิทธิของหนู #socialmedia

ใครอยากไปโรงเรียนยกมือขึ้นนนน…
.
ไหนใครเปิดเทอมแล้ว หรือโรงเรียนไหนยังไม่เปิดมาคุยกันนนน
.
#สายเด็ก1387 #saidek1387 #เปิดเทอม #เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเทอม
... ดูเพิ่มเติมSee Less

ใครอยากไปโรงเรียนยกมือขึ้นนนน…
.
ไหนใครเปิดเทอมแล้ว หรือโรงเรียนไหนยังไม่เปิดมาคุยกันนนน
.
#สายเด็ก1387 #saidek1387 #เปิดเทอม #เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเทอม

หนูพยายามไม่คิดแล้วนะคะ
แต่พอนอนหลับ
คำพูดที่พ่อแม่ต่อว่า
ก็ผุดขึ้นมาในหัวตอดเลย

คำพูดจากเด็กอายุ 13 ปี

คำพูดพ่อแม่เป็นได้ทั้งของขวัญและอาวุธ

#สายเด็ก1387 #รับฟังไม่ตัดสิน #saidek1387 #เธรดเศร้า #กำลังใจจากครอบครัว #ปัญหาครอบครัว #คำพูดจากเด็ก
... ดูเพิ่มเติมSee Less

Comment on Facebook

ช่วงเวลาจะนอนคือช่วงที่ทรมานที่สุดเลยครับ เรื่องแย่ๆจะเข้ามาในหัว ช่วงกลางวันได้ทำงานก็ยังลืมๆไป พอกลางคืนจะนอน แผลในใจมันขึ้นมาตลอด

Load more